นิตยสารแพรวสุดสัปดาห์ (1983)

ในวงการสื่อสิ่งพิมพ์

ประเภทนิตยสาร

ของประเทศไทย

ในทุกยุคสมัยนั้น

มีนิตยสารชั้นนำ

หลาย-หลายฉบับ

ที่มีการก่อตั้ง

และมีการสร้างสรรค์

เพื่อออกวางจำหน่าย

สำหรับผู้อ่าน

ตามความต้องการ

และความสนใจ

รวมถึงรสนิยม

ที่มีความหลากหลาย

โดยจากความทรงจำ

ของผู้เขียนบลอก

นอกจากนิตยสาร

อย่างเปรียว

แพรว ดิฉัน

พลอยแกมเพชร

บ้านและสวน

สตาร์พิคส์

และ เอนเตอร์เทน

ที่มีการเปิดตัว

และวางจำหน่าย

ผ่านช่วงระยะเวลา

มาอย่างยาวนานแล้ว

นิตยสารสุดสัปดาห์

ที่ใช้ชื่อหัวหนังสือ

ว่า แพรวสุดสัปดาห์

ในช่วงยุค 80

ถึงช่วงกลางยุค 90

ที่นำมาเรื่องราว

มาบันทึกไว้

ในบทความ

ครั้งนี้นั้น

ก็เป็นนิตยสารชั้นนำ

อีกฉบับหนึ่ง

ที่หลังจากการเปิดตัว

ก็ได้รับความนิยม

และมีการวางจำหน่าย

มาอย่างยาวนาน

โดยในการบันทึก

บทความของบลอก

ในครั้งนี้นั้น

จะเป็นการย้อนวันเวลา

กลับไปในช่วงแรกเริ่ม

ของการเปิดตัว

นิตยสารชั้นนำฉบับนี้

ในช่วงปี พ.ศ. 2526

ซึ่งถือเป็นยุคเเรกเริ่ม

ของการสร้างสรรค์

ซึ่งจากการเป็นนิตยสาร

ที่มีการวางจำหน่าย

และได้รับความนิยม

มาถึงในทุกวันนี้

ทำให้ในการบันทึก

บทความของบลอก

ในครั้งนี้นั้น

จะเป็นการบันทึก

เฉพาะข้อมูลต่างๆ

ในช่วงยุคแรกเริ่ม

ของนิตยสารฉบับนี้

ในระหว่างช่วงปี พ.ศ. 2526

ถึงในช่วงปี พ.ศ. 2532

ซึ่งถือเป็นช่วงเวลา

ที่มีการใช้หัวหนังสือ

ในรูปแบบ

ของภาพปก

ที่นำมาบันทึกไว้

ในบทความนี้

เพียงเท่านั้น

ซึ่งจากความจำกัด

ในแง่ของการจัดทำ

จากขนาดของบลอก

ทำให้ผู้เขียน

ต้องคัดเลือก

ในด้านภาพปก

เพียงส่วนหนึ่ง

นำมาบันทึกไว้

ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว

ยังมีภาพปกอีกมากมาย

ที่มีการวางจำหน่าย

ในช่วงระยะเวลาเหล่านั้น


สำหรับผู้อ่านบลอก

ที่ไม่ได้เติบโต

มาในช่วงยุค 80

หรือไม่ได้ติดตาม

นิตยสารฉบับนี้

นิตยสารแพรว

สุดสัปดาห์

ในช่วงยุคแรกเริ่ม

ของการก่อตั้งนั้น

เป็นนิตยสาร

แนวแฟชั่น

สาระ-บันเทิง

สำหรับผู้อ่าน

ที่เป็นกลุ่มวัยรุ่น

ซึ่งมีคุณชูเกียรติ อุทกะพันธุ์

ในนาม หจก.บ้านและสวน

เป็นผู้ก่อตั้งและเป็นเจ้าของ

คุณเมตตา อุทกะพันธุ์

เป็นผู้พิมพ์ผู้โฆษณา

และมีคุณสุภาวดี โกมารทัต

เป็นบรรณาธิการบริหาร

โดยนิตยสารฉบับนี้

มีการเปิดตัว

เป็นครั้งแรก

ในช่วงปี พ.ศ. 2526

ในรูปแบบนิตยสาร

ที่มีการวางจำหน่าย

ในรูปแบบรายปักษ์

ซึ่งออกวางจำหน่าย

ในทุก 15 วัน

โดยนิตยสาร

แพรวสุดสัปดาห์

ในฉบับแรกนั้น

มีการเปิดตัว

ในรูปแบบไซส์เล็ก

ขนาดเท่าพ็อกเก็ตบุ๊ค

และออกวางจำหน่าย

ฉบับที่ 1 ปีที่ 1

ในวันที่ 15

เดือนกุมภาพันธ์

ปี พ.ศ. 2526

โดยมีราคาต่อปก

คือ 10 บาท

(โดยในระยะเวลา

ในช่วงปี พ.ศ. 2526

ถึงในปี พ.ศ. 2532

ที่นำมาบันทึกข้อมูล

มีการเปลี่ยนแปลง

ในด้านราคา

เป็น 12 / 15 / 18

และ 20 บาท

ในระยะเวลาต่อมา)

โดยหน้าปก

ของนิตยสาร

แพรวสุดสัปดาห์

ในฉบับแรกนี้

มีคุณโจ๊ก

โสภาค ณ ตะกั่วทุ่ง

และคุณออม

วาริพินทุ์ บุญทวี

เป็นนายแบบ

และนางแบบคนแรก

บนแผ่นปก

ของนิตยสารฉบับนี้






























สำหรับผู้เกี่ยวข้อง

และทีมงาน

กองบรรณาธิการ

ของนิตยสาร

แพรวสุดสัปดาห์

ในช่วงยุคแรกเริ่ม

ของการก่อตั้ง

นิตยสารแฟชั่น

สำหรับวัยรุ่น

ในฉบับนี้

จากหน้าสารบัญ

ของนิตยสาร

แพรวสุดสัปดาห์

ในฉบับที่ 1 ปีที่ 1

ปักษ์หลัง

เดือนกุมภาพันธุ์

ปี พ.ศ. 2526

นิตยสารแพรวสุดสัปดาห์

มีคุณชูเกียรติ อุทกะพันธุ์

ในนาม หจก.

วารสารบ้านและสวน

เป็นเจ้าของ

คุณเมตตา อุทกะพันธุ์

เป็นผู้พิมพ์ผู้โฆษณา

คุณสุภาวดี โกมารทัต

เป็นบรรณาธิการบริหาร

คุณนวลจันทร์ ศุภนินิตร

คุณองอาจ จิระอร

คุณณรงค์ฤทธิ์ ยงจินดารัตน์

คุณธนัญชย์ ศิริพันธ์พิริยะ

คุณบุษกร วงศ์ศิริ

คุณวรวิทย์ อังสุหัตถ์

เป็นกองบรรณาธิการ

คุณทองทิพย์ สุทธกรณ์

คุณอัญชลี วีรเศรษฐ

คุณสนธยา กอกำเนิด

คุณคำรณ วงศ์พันธุ์

คุณธำรง รัตนสุภา

คุณยุทธวี ศิริประยงค์

เป็นฝ่ายศิลปกรรม

คุณศิริณี เลิศวิชัยยุทธ์

เป็นฝ่ายพิสูจน์อักษร

คุณโชตวิชช์ สุวงศ์

คุณสังวาล พระเทพ

เป็นฝ่ายภาพ

คุณประทักษ์ วงษ์ประเสริฐ

เป็นผู้จัดการฝ่ายโฆษณา

คุณสมพร วงษ์ประเสริฐ

เป็นฝ่ายสมาชิก

โดยนิตยสาร

แพรวสุดสัปดาห์

ในช่วงยุคแรกเริ่ม

มีการจัดพิมพ์

โดย อมรินทร์การพิมพ์

มีการแยกสี

โดย กนกศิลป์

และจัดจำหน่าย

โดย ก.สัมพันธ์

(เป็นรายชื่อทีมงาน

ในช่วงยุคแรกเริ่ม

ในปี พ.ศ. 2526

เพียงเท่านั้น

ซึ่งในช่วงปี พ.ศ. 2526

ถึงในปี พ.ศ. 2532

นิตยสารแพรวสุดสัปดาห์

ได้มีรายชื่อทีมงาน

ของกองบรรณาธิการ

และฝ่ายผลิตอื่นๆ

มาร่วมงาน

เป็นการเพิ่มเติม

ในแต่ละช่วงเวลา

อีกหลายท่าน

เช่น คุณประพันธ์ ประภาสะวัต

คุณมนทิรา จูฑะพุทธิ

คุณจำรัส เกษมสันติธรรม

คุณเพียงเพ็ญ พรายแสง

คุณทิพย์ธิดา ศรัทธาทิพย์

คุณวิรัช จัตตุวัฒนา

คุณชยวัฒน์ มุ่งถิ่น

คุณณัฐ ประกอบสันติสุข

คุณฐานวดี สถิตยุทธการ

คุณจตุพล บุญพรัด

คุณดิฐกุล กฤตธรรม

คุณเกษมสันต์ ชาญศึก

คุณพร เทพสนธิ

คุณพงษ์ศักดิ์ องค์ดุลยาภินันท์

คุณชัยศักดิ์ ชัยบุญ

คุณอังสนา พานิชเจริญ

คุณเอกจิต โพธิ์ปลั่ง

คุณชูศรี จันทร์นาค

คุณมาโนชญ์ บัวน้อย

คุณปรีชา ดิสสะมาน

คุณวรยุศ ทางดี

คุณวิไล พณิชธารสิทธิ์

คุณอโณทัย หุตะสิงห์

คุณพิไลวรรณ บังประดิษฐ์

คุณรัตนา คุ้มกนก

คุณลัดดาพร ลิจันทร์พร

คุณวินัย ศิริเสรีวรรณ

คุณปรีดา ข้าวบ่อ

คุณปราถนา ชำนิวิกัยพงศ์

คุณบรม คมเวช

คุณชัยพฤษ์ โพธิ์แดง

คุณเขต เส็งพานิช

คุณสุพิชญา บุณยาภรณ์

คุณสุทัศน์ พัวเจริญเกียรติ

คุณสุชาติ มุกดามณี

คุณเชษฐา นาคะรัต

คุณนพพร จินตฤทธิ์

คุณสุดารัตน์ วันเพ็ญ

คุณจิศมน สมติตต์

คุณกัลยา ชาติยาภรณ์

คุณสัมฤทธิ์ ประดิษฐ์สุขถาวร

คุณโกสินทร์ ทอนสวัสดิ์

คุณสุเมธ วิวัฒน์วิชา

คุณอุกฤษฎ์ หาญอมรเศรษฐ์)





























สำหรับรูปแบบ

ของนิตยสาร

แพรวสุดสัปดาห์

ในช่วงยุคแรกเริ่ม

ในปี พ.ศ. 2526

ถึงปี พ.ศ. 2532

ที่ผ่านมานั้น

จากความทรงจำ

ของผู้เขียนบลอก

นิตยสารฉบับนี้

เป็นนิตยสารแฟชั่น

ที่มีทั้งสาระ

และบันเทิง

สำหรับผู้อ่าน

ที่เป็นกลุ่มวัยรุ่น

โดยมีการนำเสนอ

คอลัมภ์ต่างๆ

ที่มีทั้งบทความ

และบทสัมภาษณ์

เกี่ยวกับบุคคล

ที่น่าสนใจ

ทั้งในวงการบันเทิง

และบุคคลต่างๆ

ที่หลากหลาย

ในด้านอาชีพ

(รวมถึงนักเรียน

และนักศึกษา

ที่มีความโดดเด่น

ในด้านการเรียน

และการทำกิจกรรมต่างๆ)

แฟชั่น บทความ

ทั้งในด้านสาระ

และในด้านบันเทิง

ข้อมูลต่างๆ

ในด้านศิลปะ

เกร็ดความรู้รอบตัว

สารคดีความรู้

ศิลปะ การท่องเที่ยว

ทั้งในประเทศ

และต่างประเทศ

เรื่องสั้น เรื่องแปล

และบทกวี

บทวิจารณ์

คอลัมภ์แนะนำ

งานเพลง สื่อบันเทิง

งานศิลปะ ละครเวที

กิจกรรมสร้างสรรค์

และร่วมสนุก

ระหว่างทีมงาน

และผู้อ่านทางบ้าน

ของชมรมแพรวสุดสัปดาห์

คอลัมภ์ดวงชะตาราศี

คอลัมภ์แจกของรางวัล

จากสปอนเซอร์ ฯลฯ



























โดยจากความทรงจำ

ของผุ้เขียนบลอก

นิตยสารแฟชั่น

สาระบันเทิง

สำหรับวัยรุ่น

ในชื่อ แพรวสุดสัปดาห์

ในช่วงยุคแรกเริ่ม

ของการก่อตั้ง

ในช่วงปี พ.ศ. 2526

มีคอลัมภ์ต่างๆ

ที่ได้รับความนิยม

และเป็นที่จดจำ

ในกลุ่มผุ้อ่าน

ของทางนิตยสาร

ส่วนหนึ่ง

ดังนี้ ภาพฝัน

(เป็นคอลัมภ์

ในด้านบทกวี

ที่นิยมอย่างมาก

จากการมีภาพประกอบ

เป็นภาพสีน่ารักๆ

จนมีการการนำเสนอ

ในรุปแบบพอกเก็ตบุ๊ค

ผลงานรวมภาพ

ในชื่อ เก็บฝัน

ออกมาวางจำหน่าย

ในทุกช่วงปลายปี)

เก็บก้อนกรวด

มาใส่ขวดโหล

(เกร็ดความรู้

และสาระบันเทิง

ในแบบเล่าสู่กันฟัง)

เยี่ยมหอศิลป์

โดย หมีขาว

(คอลัมภ์แนะนำ

งานด้านศิลปะ

ทั้งในประเทศ

และต่างประเทศ)

เที่ยวสุดสัปดาห์

โดย การะเกด

(นอกจากนี้

ยังมีสารคดี

การท่องเที่ยว

ในแบบต่างประเทศ

ที่มักจะเป็นยุโรป

โดย มนทิรา

และ พิมพ์สี

รวมถึงสารคดี

การท่องเที่ยว

เชิงศิลปะ

โดย พิษณุ ศุภ)

เยี่ยมๆมองๆ

จดไว้เป็นหมายเหตุ

(บทสัมภาษณ์

แบบเป็นกันเอง

โดย มนทิรา

และ เพียง พรายแสง)

วันที่ฟ้าใส

(คอลัมภ์ตกแต่งห้อง

โดยบุคคลต่างๆ

ทั้งจากคนดัง

ในวงการบันเทิง

และผู้อ่านทางบ้าน)

ฝันนี้ที่อยากเป็น

(แนะนำงานอาชีพ

ที่เหล่าคนดัง

อยากจะเป็น)

สุดสัปดาห์พาที

(ตอบจดหมาย

จากผู้อ่านทางบ้าน

โดยบรรณาธิการ)

ไปถ่ายรูปกับแพรวสุด

โดย โชตวิชช์

(เป็นผลงานเขียน

โดยคุณโชตวิชช์ สุวงศ์

ช่างภาพประจำนิตยสาร

ที่บอกเล่าเรื่องราว

ในด้านเบื้องหลัง

ของการถ่ายทำ

ภาพแฟชั่นปก

ด้วยสำนวนสนุกๆ

ที่มีเอกลักษณ์)

คอลัมภ์ใบปิด

โดย การะเกด

(เป็นการแนะนำ

ตัวอย่างของใบปิด

ทั้งในด้านภาพยนตร์

การโปรโมทสินค้า

รวมถึงการจัดงาน

การแสดงต่างๆ ฯลฯ)





























จากความทรงจำ

ของผุ้เขียนบลอก

นิตยสารแพรวสุดสัปดาห์

ที่มีการสร้างสรรค์

และวางจำหน่าย

มาอย่างยาวนาน

ตั้งแต่ในปี พ.ศ. 2526

ในแบับนี้นั้น

ถือเป็นนิตยสาร

แนวแฟชั่น-วัยรุ่น

ที่ประสบความสำเร็จ

ตั้งแต่ในช่วงแรก

ของการเปิดตัว

จากการเป็นนิตยสาร

ในเครืออมรินทร์

ที่มีทั้งนิตยสารแพรว

และนิตยสารบ้านและสวน

ซึ่งในช่วงต้นยุค 80

ที่ผ่านมานั้น

นิตยสารรุ่นพี่

ทั้งสองฉบับ

ของแพรวสุดสัปดาห์นี้

ถือเป็นนิตยสาร

ที่มีกลุ่มผู้อ่านประจำ

ให้การติดตาม

มาก่อนหน้านี้แล้ว

ซึ่งจากการเปิดตัว

นิตยสารฉบับนี้

ซึ่งมีความเกี่ยวข้อง

กับนิตยสารชั้นนำ

ทั้งสองฉบับ

ของอมรินทร์การพิมพ์

ที่มีความแข็งแกร่ง

จากการมีสำนักพิมพ์

เป็นของตนเอง

และมีความสัมพันธ์ที่ดี

กับสายส่งทั่วประเทศ

ก็ถือเป็นความแข็งแกร่ง

อยู่มีในตัวเอง

ที่นิตยสารฉบับนี้

มีตั้งแต่เริ่มต้น

ของการก่อตั้ง

นอกจากนี้

จากการมีรูปแบบ

ที่ออกวางจำหน่าย

ในช่วงแรกเริ่ม

ด้วยขนาดพิเศษ

เทียบเท่าพอกเก็ตบุ๊ค

ที่ดูน่ารัก กะทัดรัด

รวมถึงการจัดรูปแบบ

ของหน้านิตยสาร

และคอลัมภ์ต่างๆ

ที่อ่านง่าย

และให้ความรู้สึก

ที่รื่นรมณย์

จากการมีข้อเขียน

ของเหล่าทีมงาน

ในกองบรรณาธิการ

ที่ในขณะนั้น

มีไม่มากนัก

ก็ให้ความรู้สึก

ที่มีความสนิทสนม

กับทางผุ้อ่าน

ทำให้นิตยสารฉบันี้

กลายเป็นที่ชื่นชอบ

ของเหล่าผู้อ่าน

และเป็นที่จดจำ

ของผู้อ่านทางบ้าน

ที่เป็นเหล่าวัยรุ่น

ได้อย่างรวดเร็ว

(ซึ่งจากความโดดเด่น

โดยเฉพาะในส่วน

ของรุปเล่มนี้เอง

ที่ทำให้ไม่ว่าเวลา

จะผ่านพ้นไป

เนิ่นนานแค่ไหน

ก็ยังมีผู้อ่าน

ในรุ่นเก่าๆ

ที่เกิดก่อน

ปี พ.ศ. 2520

ที่ยังคงจดจำ

รูปเล่มและขนาด

ของนิตยสาร

ในฉบับจิ๋ว

ที่มีภาพปก

ในแบบน่ารักๆ

ของนิตยสารฉบับนี้

ได้อยู่เสมอ)





























โดยนอกจากรูปเล่ม

และคอลัมภ์ต่างๆ

รวมถึงภาพรวม

ของนิตยสาร

ที่ให้ความรู้สึก

ที่น่ารัก สดใส

ดูอ่อนหวาน

นิตยสารแพรว

และแพรวสุดสัปดาห์

ในช่วงยุค 80

ที่ผ่านมานั้น

ยังเป็นที่จดจำ

จากการเริ่มต้น

การจัดงาน

การประกวด

หนุ่ม-สาวแพรว

ที่ถือเป็นการประกวด

เพื่อเป็นการเฟ้นหา

หนุ่มสาวหน้าใหม่

เข้าสุ่วงการแฟชั่น

และวงการบันเทิง

ซึ่งหลังจากการประกวด

ในช่วงปีแรก

คือ ปี พ.ศ. 2527

ที่มีคุณโก้

มารุต ยวงสุวรรณ

และคุณเก๋

เพ็ญประภา บุนนาค

เป็นผู้ชนะเลิศ

ในปีแรกแล้ว

ทางนิตยสารแพรว

และแพรวสุดสัปดาห์

ก็ได้มีการจัดงาน

ในการประกวด

อย่างต่อเนื่อง

ในช่วงปี พ.ศ. 2527

ถึงในช่วงปี พ.ศ. 2544

ซึ่งทำให้มีผู้ชนะเลิศ

และผู้เข้ารอบสุดท้าย

หลาย-หลายท่าน

ที่กลายเป็นที่รู้จัก

และได้รับความนิยม

ในวงการแฟชั่น

และวงการบันเทิง

ในช่วงยุค 80

ถึงช่วงปลายยุค 90

อย่างมากมาย

โดยจากความทรงจำ

ของผุ้เขียนบลอก

เหล่าหนุ่มสาวแพรว

ส่วนหนึ่ง

ที่เป็นที่รู้จัก

ในวงกว้าง

ของวงการแฟชั่น

และวงการบันเทิง

ตลอดระยะเวลา

ของการประกวด

มีดังนี้ คุณเศรษฐ์ ชุมศิลป์

คุณสมรัชนี เกษร

คุณศักดิ์สิทธิ์ ทวีกุล

คุณแสงระวี อัศวรักษ์

คุณภาณุเดช วัฒนสุชาติ

คุณอรชุน นิลทลักษณ์

คุณริสา หงษ์หิรัญ

คุณไอศุรย์ วาทยานนท์

คุณตรีรัก รักการดี

คุณสุขเกษม จาวยนต์

คุณปฏิวัติ ชัยชนะสกุล

คุณกมลชนก ปานใจ

คุณสลักจิต ดลมินทร์

คุณพิสัย ศะศิสมิต

คุณดำรงค์เดช แสงสว่าง

คุณอัษฎาวุธ เหลืองสุนทร

คุณพิทยา ณ ระนอง

คุณบุษกร พรวรรณะศิริเวช

คุณกนกพร โลศิริ

คุณรุ้งทอง ร่วมทอง

คุณมานะ เนตรสาลี

คุณรามาวดี สิริสุขะ

คุณนิวัตรา ขำแก้ว

คุณชัยเกียรติ คร้ามพันธ์

คุณดอม เหตระกูล

คุณนิธิชัย ยศอมรสุนทร

คุณภักดีหาญส์ หิมะทองคำ

คุณวรพต ชะเอม

คุณวิมลเรขา ศิริชัยราวรรณ

คุณทศพร รถกิจ

คุณศุภกิจ ตังทัตสวัสดิ์

คุณสุรางคณา สุทรพนาเวศ

คุณอลิสา กำธรเจริญ

คุณภัทรพล ศิลปาจารย์

คุณภราดร ศิรโกวิท

คุณรัชช์ ชุ่มบุญ

คุณกันติ ธรรมาณิชานนท์

คุณศัลย์ อิทธิสุขสันท์

คุณสกรรจ์รณ เชาวน์รัตน์

คุณณวัตน์ กุลรัตนรักษ์

คุณกัลยกร นาคสมภพ

คุณณัฐธีร์ โกศลพิศิษฐ์ ฯลฯ

(เป็นรายชื่อ

ของผู้ชนะเลิศ

และผุ้เข้าร่วม

ในการประกวด

เพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น

และต้องขอออภัย

อีกหลาย-หลายท่าน

ที่ไม่ได้บันทึกไว้

ในบทความครั้งนี้)




























หลังจากการเปิดตัว

และประสบความสำเร็จ

อย่างรวดเร็ว

ตั้งแต่ในช่วงปี พ.ศ. 2526

นิตยสารแพรวสุดสัปดาห์

หรือที่มีการเปลี่ยนแปลง

ไปใช้ชื่อสั้น-สั้น

ว่า สุดสัปดาห์

ในภายหลังนั้น

ในขณะที่มีการบันทึก

บทความของบลอก

ในช่วงปี พ.ศ. 2557

ในขณะนี้นั้น

นิตยสารฉบับนี้

ยังคงมีการสร้างสรรค์

ในรูปแบบใหม่ๆ

ที่มีความทันสมัย

จากกการพัฒนา

อย่างต่อเนื่อง

ของทีมงาน

และมีการวางจำหน่าย

ให้ได้ติดตาม

กันอย่างสม่ำเสมอ

โดยในการบันทึก

บทความของบลอก

ที่มีการบันทึก

เฉพาะในช่วงแรก

ของการก่อตั้ง

นิตยสารฉบับนี้นั้น

ในช่วงปี พ.ศ. 2526

ถึงปี พ.ศ. 2532

นิตยสารแพรวสุดสัปดาห์

ได้มีการเปลี่ยนแปลง

ทั้งในด้านรุปแบบ

และในด้านราคา

หลาย-หลายครั้ง

ซึ่งหลังจากการเปิดตัว

ด้วยรูปเล่มขนาดเล็ก

เท่าพอกเก็ตบุ๊ค

ในช่วงปี พ.ศ. 2526

นิตยสารฉบับนี้

มีการปรับเปลี่ยน

ในด้านขนาด

มาเป็นไซส์ปกติ

แต่มีการเย็บ

ในแบบมุงหลังคา

(ไม่มีสันปก)

เป็นครั้งแรก

ในช่วงการจัดพิมพ์

นิตยสารฉบับที่ 48

ซึ่งเป็นปักษ์แรก

ของเดือนกุมภาพันธ์

ปี พ.ศ. 2528

ซึ่งหลังจากนั้น

ก็ได้มีการปรับเปลี่ยน

ในรูปแบบ

ของสันปก

มาเป็นการเย็บ

ในแบบไสกาว

และมีสันปก

ในช่วงระยะเวลา

ของปีเดียวกัน

โดยสำหรับหัวหนังสือ

ที่มีเอกลักษณ์

ในรูปแบบ

ของลายเส้น

ที่ดูน่ารัก

ในช่วงแรกเริ่มนี้

หัวหนังสือ

แพรวสุดสัปดาห์

ในรูปแบบแรกนี้

มีการใช้

เป็นหัวหนังสือ

ในช่วงปี พ.ศ. 2526

ถึงในปี พ.ศ. 2532

โดยทางนิตยสารเอง

ได้มีการเปลี่ยนแปลง

ทั้งในด้านหัวหนังสือ

ตัวอักษร สันปก

รูปแบบคอลัมภ์

การจัดรุปแบบ

ของทางนิตยสาร

ราคา ภาพลักษณ์

และเนื้อหาภาพรวม

ที่มีความเป็นผู้ใหญ่

สำหรับผุ้อ่าน

ที่หลากหลาย

มากยิ่งขึ้น

ซึ่งถือเป็นการเปลี่ยนแปลง

ที่เรียกได้ว่าครั้งใหญ่

มากที่สุด

อีกครั้งหนึ่ง

ในฉบับที่ 153

ซึ่งเป็นปักษ์หลัง

ของเดือนมิถุนายน

ในปี พ.ศ. 2532

ซึ่งหลังจากการเปลี่ยนแปลง

ในรูปแบบใหม่ทั้งหมด

ในครั้งแรกนี้

นิตยสารแพรวสุดสัปดาห์

หรือ สุดสัปดาห์

ก็ได้มีการเปลี่ยนแปลง

ทั้งในด้านชื่อ

และหัวหนังสือ

รวมถึงขนาด

ของรูปเล่ม

และเนื้อหาสาระ

ที่มีการปรับเปลี่ยน

ในแต่ละช่วงเวลา

เพื่อการพัฒนา

สำหรับผุ้อ่าน

ในแต่ละยุคสมัย

อย่างสม่ำเสมอ

มาจนถึงในทุกวันนี้

(เป็นการบันทึกข้อมูล

จากนิตยสารฉบับนี้

ในช่วงปี พ.ศ. 2526

ถึงในปี พ.ศ. 2532

เพียงเท่านั้น

โดยหากมีข้อผิดพลาด

หรือมีรายละเอียด

ที่ไม่ครบถ้วน

ผู้เขียนบลอก

ต้องขออภัย

ทางทีมงาน

และผู้เกี่ยวข้อง

ท่านต่าง-ต่าง

ไว้ ณ ที่นี้)





















































































































นิตยสารเก่าในความทรงจำ

นิตยสารเก่าในความทรงจำ
นิตยสารลลนา (1973-1995)

สโมสรผึ้งน้อย (1984)

บทความเก่าของบลอก

บทความเก่าของบลอก
แหม่ม พัชริดา วัฒนา

นิตยสารเก่าในความทรงจำ

นิตยสารเก่าในความทรงจำ
นิตยสารทีวีรีวิว (1972-1992)

SAN MIGUEL BEER (1989)

บทความเก่าของบลอก

บทความเก่าของบลอก
เมย์ ศศลักษณ์ พันธุ์หาญ

SVESVESB / YASUO MIYATA (1982)

การ์ตูนเก่าในความทรงจำ

การ์ตูนเก่าในความทรงจำ
เอล (1992-1995)

SEVENTH HEAVEN (1996-2007)

เสือ 11 ตัว (2001)

เสือ 11 ตัว (2001)

NIVEA SKIN LOTION (1988)

บทความเก่าของบลอก

บทความเก่าของบลอก
เจี๊ยบ ศักราช ฤกษ์ธำรงค์

BALENO / DAVID WU (1989)

นิตยสารเก่าในความทรงจำ

นิตยสารเก่าในความทรงจำ
นิตยสารแพรวสุดสัปดาห์ (1983)

สิงห์โกลด์ไลท์เบียร์ (1989)

From Me To You


การจัดทำบลอกนี้

เกิดจากความรู้สึก

ที่ผู้เขียนบลอก

อยากจะบันทึก

ความทรงจำ

ในช่วงเวลา

ของวันเก่าๆ

ผ่านเส้นทาง

จากเรื่องราว

และผลงานต่างๆ

ของเหล่าดารา

นักร้อง นักแสดง

นายแบบ นางแบบ

นักเขียน ฯลฯ

ซึ่งมีความเกี่ยวข้อง

กับศิลปะบันเทิง

ในช่วงยุคสมัย

ก่อนการมาถึง

ของอินเทอร์เน็ต

ที่แพร่หลาย

ในสังคมไทย

อย่างในทุกวันนี้

ซึ่งในการจัดทำ

ผู้เขียนบลอก

ได้รวบรวม

เรื่องราวต่างๆ

จากความทรงจำ

และค้นข้อมูล

โดยนำรูปภาพ

จากนิตยสารต่างๆ

ในช่วงเวลาอดีต

นำมารวบรวม

และเรียบเรียง

ให้เป็นภาพชัดเจน

ขึ้นมาอีกครั้ง

ด้วยสิ่งที่ตนเองนั้น

ยังคงเก็บไว้

ด้วยความมุ่งหวัง

ในการนำเสนอ

ด้วยความให้เกียรติ

ผ่านการนำเสนอ

ในด้านที่สวยงาม

ซึ่งในการจัดทำ

บทความต่างๆ

ซึ่งต้องใช้ภาพ

จากนิตยสารแฟชั่น

และนิตยสารบันเทิง

ในฉบับต่างๆ

จากช่วงยุค 70

ถึงช่วงปลายยุค 90

ซึ่งภาพทั้งหมดนั้น

ถือเป็นลิขสิทธิ์

ของนิตยสาร

และช่างภาพ

ท่านต่างๆ

ทำให้ผู้เขียนบลอก

มีความตั้งใจ

ที่จะจัดทำบลอกนี้

โดยไม่แสวงผลกำไร

และไม่เปิดรับโฆษณา

เพื่อเป็นการยุติธรรม

ต่อเจ้าของภาพ

ในนิตยสาร หนังสือ

และวีดีโอต่างๆ

ที่ผู้เขียนบลอก

นำมาเรียบเรียงไว้

ในบทความ

โดยในการจัดทำ

ผู้เขียนบลอก

อยากจะขอขอบคุณ

นิตยสารและช่างภาพ

ซึ่งเป็นเจ้าของภาพ

สำหรับภาพสวยๆ

ในทุก-ทุกรูป

และอยากจะขอ

ความกรุณา

จากผู้อ่านทุกท่าน

ที่จะนำข้อมูล

และภาพต่างๆ

ในบลอกนี้

ซึ่งผู้เขียนบลอก

ไม่ใช่เจ้าของ

ในด้านลิขสิทธิ์

นำไปเผยแพร่

ขอให้ทุกท่าน

ที่จะนำภาพไปใช้

ขอให้นำไปใช้

โดยมิใช่เพื่อการค้า

หรือนำไปรวบรวมใว้

ในเวบไซต์ เพจ

หรือบลอกต่างๆ

ที่มีการลงโฆษณา

หรือนำไปประกอบ

ในข้อความ บทความ

ที่จะเป็นการล่วงเกิน

ผู้ที่เป็นแบบ

ในภาพนั้นๆ

จากการนำไปใช้

ร่วมกับข้อความ

ที่มีข้อมูล

ในด้านลบ

หรือใช้ถ้อยคำ

ที่มีความหยาบคาย

ซึ่งจะสร้างความเสียหาย

ให้กับผู้เป็นแบบ

ซึ่งอยู่ในภาพ

ท่านนั้นๆ

SUMMER CONCERT / JIMMY LIN (1992)

นิตยสารเก่าในความทรงจำ

นิตยสารเก่าในความทรงจำ
นิตยสารซินีแม๊ก (1994-2002)

SUCCESS / EISAKU YOSHIDA (1989)

บทความเก่าของบลอก

บทความเก่าของบลอก
Eisaku Yoshida

DIG MEN / TAKAHASHI BROTHERS (1989)

DAWSON'S CREEK (1998-2003)

บทความเก่าของบลอก

บทความเก่าของบลอก
นุ๊ก สุทธิดา เกษมสันต์ ณ อยุธยา

ชาวเวอร์ทูชาวเวอร์ / จอนนี่ แอนโฟเน่ (1989)

บทความเก่าของบลอก

บทความเก่าของบลอก
ลางลิขิต (2001)

โฆษณาเครื่องดื่มเป็ปซี่ / พีท ทองเจือ (1992)

นิตยสารเก่าในความทรงจำ

นิตยสารเก่าในความทรงจำ
Movie Time Magazine (1997-2009)

บทความเก่าของบลอก

บทความเก่าของบลอก
แพท พัสสน ศรินทุ

MELROSE PLACE (1992-1999)

นิตยสารเก่าในความทรงจำ

นิตยสารเก่าในความทรงจำ
Gift Magazine (1981-1992)
ในช่วงยุค 70-90 นั้น

สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทการ์ตูน

ที่เข้ามาแพร่หลาย

ในประเทศไทยนั้น

ยังไม่ได้อยู่ภายใต้การบังคับ

ของกฎหมายลิขสิทธิ์

อย่างที่เกิดขึ้น

ในประเทศไทย

ในช่วงปี พ.ศ. 2535

ทำให้วงการการ์ตูน

ในประเทศไทย

ในขณะนั้น

มีการแข่งขันกัน

ระหว่างสำนักพิมพ์ต่างๆ

ในการตีพิมพ์และวางจำหน่าย

ผลงานการ์ตูนเรื่องดังๆ

จากประเทศญี่ปุ่น

จากเหตุผลในข้อนี้เอง

ทำให้เกิดนิตยสารการ์ตูน

เพื่อที่จะได้มีการแปล

และวางจำหน่าย

ให้ทันกับต้นฉบับ

ของนิตยสารการ์ตูน

ที่วางขายในประเทศญี่ปุ่น

และ กิฟท์ แม็กกาซีน

ของ ไลน์อาร์ทแพลนนิ่ง

ถือเป็นหนึ่งในนิตยสารการ์ตูน

สำหรับเด็กผู้หญิง

ที่โด่งดังมากที่สุด

ในช่วงยุค 80

ที่ผ่านมา

จากการมีการ์ตูนเรื่องดังๆ

อย่าง ไซเฟอร์ ไอบอย

เลขรักพิสดาร

อสูรน้อยกระซิบรัก

ตีพิมพ์เป็นประจำ

โดยนอกจากการ์ตูนฮิตเหล่านี้

กิฟท์ แม็กกาซีน

ยังมีลักษณะเฉพาะ

ที่มีความพิเศษ

ที่เป็นที่ชื่นชอบ

ของผู้อ่านมากมาย

จนกลายเป็นนิตยสารการ์ตูน

สำหรับเด็กผู้หญิง

ที่ยังคงอยู่ในความทรงจำ

ของผู้อ่านทุก-ทุกคน

มาจนถึงในทุกวันนี้

โดยผู้อ่านบลอก

ที่สนใจและชื่นชอบ

ในนิตยสารเล่มนี้

สามารถอ่านบทความ

และชมภาพทั้งหมด

ได้ในหัวข้อ 80 thai magazine

และ 90 thai magazinr

บทความเก่าของบลอก

บทความเก่าของบลอก
มารยาริษยา (1998)

SUNTORY NCAA / KOJI KIKKAWA (1985)

บทความเก่าของบลอก

บทความเก่าของบลอก
ต่อ กันติ ธรรมาณิชานนท์

MR PRIVATE EYE / CITY HUNTER (1987)

คิขุอาโนเนะ / วงบอยสเก๊าท์ (1993)

บทความเก่าของบลอก

บทความเก่าของบลอก
ธรรม์ โทณะวณิก

THE DREW CAREY SHOW (1995-2004)

นิตยสารเก่าในความทรงจำ

นิตยสารเก่าในความทรงจำ
นิตยสารอานนท์ (1993-1995)

SUNTORY / KAORU KOBAYASHI (1987)

การ์ตูนเก่าในความทรงจำ

การ์ตูนเก่าในความทรงจำ
รักทระนง (1987)

JAL OKINAWA / TORU KAZAMA (1989)

บทความเก่าของบลอก

บทความเก่าของบลอก
Taishu Kase

BEVERLY HILLS 90210 (1990-2000)

นิตยสารเก่าในความทรงจำ

นิตยสารเก่าในความทรงจำ
HELLO MAGAZINE (1985-1989)

LOVE LIGHT / YU HAYAMI (1982)

นิตยสารเก่าในความทรงจำ

นิตยสารเก่าในความทรงจำ
นิตยสารบงกช (1981-1989)

PRIVATE LIFE / SHONENTAI (1987)

Shonentai / 少年隊

ในช่วงยุค 80

ที่ผ่านมานั้น

ถือเป็นช่วงยุคเฟื่องฟู

ของเหล่านักแสดง

นักร้องวัยรุ่น

ขวัญใจวัยรุ่น

จากประเทศญี่ปุ่น

ที่เริ่มเป็นที่รู้จัก

และมีชื่อเสียง

ในประเทศไทย

โดยหลังจากความสำเร็จ

ของละครโทรทัศน์

เรื่อง เคนโด้

ข้าคือลุกผู้ชาย

รวมถึงละครโทรทัศน์

แนวกีฬา

จากประเทศญี่ปุ่น

อีกหลายๆเรื่อง

ที่เข้ามาแพร่ภาพ

และได้รับความนิยม

ในประเทศไทย

ในช่วงยุค 70

ผู้ชมชาวไทย

ก็เริ่มจะเปิดรับ

ผลงานเพลง

ละครโทรทัศน์

และภาพยนตร์เรื่องต่างๆ

จากประเทศญี่ปุ่น

โดยในฐานะ

กลุ่มนักร้อง

ขวัญใจวัยรุ่น

สามนักร้องหนุ่มหล่อ

วง Shonentai

ถือเป็นกลุ่มนักร้อง

จากประเทศญี่ปุ่น

ที่ได้รับความนิยม

จากสาวๆชาวไทย

มากที่สุด

ในช่วงยุค 80

ซึ่งความโด่งดัง

ของพวกเขา

ทำให้ผู้ชม

ในประเทศไทยเอง

ได้มีโอกาสต้อนรับ

และเข้าชมคอนเสริต์

ของพวกเขา

ที่มีการจัดขึ้น

ในประเทศไทย

ซึ่งถือเป็นความยิ่งใหญ่

ในยุคสมัย

ที่ยังไม่มี Internet

และสื่อบันเทิงต่างๆ

ให้ได้ติดตามรับชม

กันอย่างมากมาย

เหมือนในทุกวันนี้

โดยผู้อ่านของบลอก

ที่คิดถึงผลงาน

และเรื่องราวเก่าๆ

ในช่วงแรก

ของอาชีพนักร้อง

ของทั้งสามหนุ่มหล่อนี้

สามารถติดตามเรื่องราว

และรับชมรูปภาพ

ของพวกเขาได้

ในหัวข้อ 80 Japan Male Idol

บทความเก่าของบลอก

บทความเก่าของบลอก
โด่ง สิทธิพร นิยม

แกล้งโง่ / ฝันดี ฝันเด่น จรรยาธนากร (1994)

ละครเก่าในความทรงจำ

ละครเก่าในความทรงจำ
ดั่งดวงหฤทัย (1996)

นิตยสารเก่าในความทรงจำ

นิตยสารเก่าในความทรงจำ
นิตยสารด้วยรัก (1983-1985)

ขอคืน / บอยสเก๊าท์ (1993)

นิตยสารเก่าในความทรงจำ

นิตยสารเก่าในความทรงจำ
Starpics Magazine (1965)

EARLY EDITION (1996-2000)

การ์ตูนเก่าในความทรงจำ

การ์ตูนเก่าในความทรงจำ
บันทึกรักโพนีเทล (1985-1987)

นิตยสารฉบับเก่าในความทรงจำ

นิตยสารฉบับเก่าในความทรงจำ
นิตยสารแพรว (1979)

STILL LOVE HER / TM NETWORK

บทความเก่าของบลอก

บทความเก่าของบลอก
Kazukiyo Nishikiori (Shonentai)

ปราสาทมืด (1994)

บทความเก่าของบลอก

บทความเก่าของบลอก
ม.6/2 ห้องครูวารี (1994)

MEIJI CHOCOLAT (1993)

บทความเก่าของบลอก

บทความเก่าของบลอก
อัลเฟรด เนติพงษ์ ศรีทองอินทร์

TOKI WO KAKERU SHOUJO (1983)

AGAINST ALL ODDS (1984)

นิตยสารเก่าในความทรงจำ

นิตยสารเก่าในความทรงจำ
Starpics Magazine (1965)

GLICO ALMOND / RYUJI HARADA (1992)

บทความเก่าของบลอก

บทความเก่าของบลอก
โจ ธเนศ ฉิมท้วม

โปลิศจับขโมย (1996)

ปุกปุย (1990)

ภาพยนตร์คุณภาพ

เรื่อง ปุกปุย

ที่ยังคงอยู่ในความทรงจำ

ของผู้ชมภาพยนตร์

หลาย-หลายท่าน

มาจนถึงในทุกวันนี้

เกิดจากแนวคิด

ในการเขียนบท

ของ คุณอุดม อุดมโรจน์

และ คุณทองขาว มะขาวป้อม

โดยภาพยนตร์เรื่องนี้

มีชื่อแรกในบทร่าง

ว่า ใครใครก็ไม่รัก

ซึ่งแนวคิดของเรื่อง

ได้รับแรงบันดาลใจ

มาจาก My Life As a Dog

จากการที่คุณอุดมนั้น

ต้องการสร้างภาพยนตร์

เกี่ยวกับเด็กเด็ก

ในแนวคิดที่อยากนำเสนอ

ให้สังคมและครอบครัว

หันมาใส่ใจ

และดูแลเด็กเด็ก

ในด้านความรู้สึก

ของพวกเขามากกว่านี้

โดยรายนามของผู้สร้างสรรค์

ภาพยนตร์คุณภาพเรื่องนี้

มีดังนี้ กำกับภาพยนตร์

โดย อุดม อุดมโรจน์

อำนวยการสร้าง

โดย จรัญ/วิสูตร พูลวรลักษณ์

ถ่ายภาพ

โดย ปัญญา นิ่มเจริญพงศ์

ดนตรีประกอบ

โดย จำรัส เศวตาภรณ์

ภาพยนตร์เรื่อง ปุกปุย

เปิดตัวต่อสื่อมวลชน

และออกฉายทั่วประเทศ

เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2533

โดยแม้จะมาพร้อม

กับคุณภาพ

และงานการสร้าง

ที่มีความสมบูรณ์แบบ

แต่ภาพยนตร์เรื่องนี้

ไม่ได้ออกฉายทันที

ที่การถ่ายทำเสร็จสิ้นลง

เนื่องจากต้องรอคิว

และเวลาในการออกฉาย

ในโรงภาพยนตร์

ที่มีจังหวะเหมาะสม

ก่อนที่ภาพยนตร์เล็กๆเรื่องนี้

จะทำรายได้ในปีนั้น

ไปอย่างเหนือความคาดหมาย

และยังคงอยู่ในความทรงจำ

ของผู้ชมทุก-ทุกคน

มาจนถึงทุกในวันนี้

ภาพยนตร์เรื่อง ปุกปุย

นำแสดงโดย ด.ช. ณพัชร สุพัฒนกุล

ที่ให้การแสดงชั้นยอด

และเป็นทุกสิ่งทุกอย่าง

ที่บทภาพยนตร์ต้องการ

ร่วมด้วย ด.ญ. ปรางใส ณ นคร

ด.ช. ศุภชัย ชัยวัฒนเมธิน

เกรียงไกร อุณหนันท์

ธิติมา สังขพิทักษ์

และ ญาณี จงวิสุทธิ์

สบตา / แอนเดรีย สวอเรซ (1994)

นิตยสารเก่าในความทรงจำ

นิตยสารเก่าในความทรงจำ
นิตยสารมิถุนา (1983-1997)

อยากรู้ความจริง / ทัช ณ ตะกั่วทุ่ง (1992)

บทความเก่าของบลอก

บทความเก่าของบลอก
เจริญทอง เกียรติบ้านช่อง

ครีมอาบน้ำลักส์ / อัญชลี จงคดีกิจ (1985)

บทความเก่าของบลอก

บทความเก่าของบลอก
โป้ง วราวุธ บูรพาชยานนท์

MISSING YOU / TOMMY PAGE (1997)

ตามรักคืนใจ (1998)

ในปี พ.ศ. 2541

สถานีโทรทัศน์ช่อง 3

ร่วมกับบริษัท ยูมาร์ 99 จำกัด

ได้เสนอละครโทรทัศน์

เรื่อง ตามรักคืนใจ

แพร่ภาพเป็นประจำ

ทุกวันศุกร์และเสาร์

เวลา 20:30 น.

ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 3

โดยละครโทรทัศน์เรื่องนี้

สร้างจากบทประพันธ์

ของ กิ่งฉัตร

ดัดแปลงเป็นบทโทรทัศน์

โดย ทุ่งดอกไม้

กำกับการแสดง

โดย วิลักษณา

นำแสดงโดย ธนากร โปษยานนท์

รับบท สีหนาท หรือ นายสิงห์

รามาวดี สิริสุขะ

รับบท หนูนา หรือ นารา

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง

รับบท ราม

นาถยา แดงบุหงา รับบท รัศมี

นพชัย มัททวีวงศ์ รับบท อดิศร

ชไมพร สิทธิวรนันท์

รับบท จุฑารัตน์ หรือ จุ๊

เมธี อมรวุฒิกุล รับบท สารวัตรกช

รุ้งทอง ร่วมทอง รับบท ขนิษฐา

สมบัติ เมทะนี รับบท วรรณ

ทนงศักดิ์ ศุภการ รับบท ศักดา

ดารณีนุช โพธิปิติ รับบท แป้น

พิมพกา เสียงสมบุญ รับบท พวง

ศักราช ฤกษ์ธำรงค์ รับบท เอกชาติ

วัชรเกียรติ บุญภักดี รับบท เรือง

เรือนมยุรา (1997)

เธอยังคงมีฉัน / ปัทมวรรณ เค้ามูลคดี (1994)

บทความเก่าของบลอก

บทความเก่าของบลอก
เจ มณฑล จิรา

NEVER SURRENDER / COREY HART (1985)

บทความเก่าของบลอก

บทความเก่าของบลอก
Paul Visut Carey

คลังบทความของบล็อก

TOKI / YUTAKA OZAKI (1988)

บทความพิเศษของบลอก

บทความพิเศษของบลอก
นิตยสารวัยรุ่นทศวรรษที่ 90

TRUE / SPANDAU BALLET (1983)

MY FAVORITE ALBUM / EISAKU YOSHIDA

MOU DAREMO AISANAI (1991)

ดอกแก้วการะบุหนิง (2000)

ในปี พ.ศ. 2543

สถานีโทรทัศน์ช่อง 3

ร่วมกับบริษัท ฮู แอนด์ ฮู

โดย วรายุฑ มิลินทจินดา

เสนอละครโทรทัศน์

เเนว โรแมนติก-แฟนตาซี

เรื่อง ดอกแก้วการะบุหนิง

โดยเป็นการสร้าง

จากบทประพันธ์

โดย แก้วเก้า

นำมาดัดแปลง

เป็นบทโทรทัศน์

โดย วรดา

กำกับการแสดง

โดย ชูศักดิ์ สุธีรธรรม

นำแสดงโดย ธนากร โปษยานนท์

รับบท ดนย์

คัทลียา แมคอินทอช

รับบท การะบุหนิง

ฉัตรชัย เปล่งพานิช

รับบท สุหราปาตี

จินตหรา สุขพัฒน์

รับบท กิรณา

เพลงประกอบละครโทรทัศน์

เพลง เธอ

โดย ศิริลักษณ์ ผ่องโชค

ภาพประกอบละครโทรทัศน์

ช่วง Opening Credits

โดย อ.สุรเดช แก้วท่าไม้

ละครโทรทัศน์

เรื่อง ดอกแก้วการะบุหนิง

ออกอากาศเป็นประจำ

ทุกวันจันทร์ อังคาร

เวลา 20.25 น.

ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 3

ในปี พ.ศ. 2543

นิตยสารเก่าในความทรงจำ

นิตยสารเก่าในความทรงจำ
นิตยสารกระดังงา (1984-1990)

VITASOY / SIMON LO (1992)

บทความเก่าของบลอก

บทความเก่าของบลอก
สามารถ พยัคฆ์อรุณ

ป้ายกำกับ

JAL / KAORU KOBAYASHI (1991)

MY FAVORITE ALBUM

MY FAVORITE ALBUM
CAPRICCIO / SHONENTAI (1988)

HI-C LEMON TEA / EKIN CHENG (1987)

นิตยสารเก่าในความทรงจำ

นิตยสารเก่าในความทรงจำ
นิตยสารเพื่อนเดินทาง (1980)

GILMORE GIRLS (2000-2007)

HOP-STEP-LOVE / JUNICHI NITTA (1982)

บทความเก่าของบลอก

บทความเก่าของบลอก
Shingo Kazami

JA KYOSAI / EISAKU YOSHIDA (1990)

บทความเก่าของบลอก

บทความเก่าของบลอก
Yuki Saito

วนิดา (1991)